โครงการสีเขียว สำนักวิชาวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์

นโยบาย การเป็นหน่วยงานสีเขียว (Green Informatics) ของสำนักวิชาวิทยาศาสตร์
มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์มีนโยบายการเป็นมหาวิทยาลัยสีเขียว โดยได้บรรจุไว้ในแผนยุทธศาสตร์ ๒๐ ปี (พ.ศ.2561-2580) ของมหาวิทยาลัยฯ ในประเด็นยุทธศาสตร์ที่ ๕ การเสริมสร้างภาพลักษณ์เป็นเมืองมหาวิทยาลัยสีเขียวแห่งความสุข และเพื่อให้สอดคล้องกับเกณฑ์การจัดอันดับมหาวิทยาลัยสีเขียวโลก หรือ UI GreenMetric World University Ranking ดังนั้น เพื่อให้การดำเนินนโยบายของมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์บรรลุผลสำเร็จและสอดคล้องตามเป้าหมายและแผนยุทธศาสตร์ของมหาวิทยาลัยที่วางไว้ สำนักวิชาวิทยาศาสตร์ จึงได้เล็งเห็นความสำคัญของการรณรงค์ ส่งเสริมให้บุคลากรในสำนักวิชาฯ เกิดความร่วมแรงร่วมใจในการทำให้สถานที่ทำงานน่าอยู่ น่าทำงาน มีสิ่งแวดล้อมที่ดี สะอาด ปลอดภัย มีชีวิตชีวา ซึ่งจะส่งผลต่อคุณภาพชีวิตที่ดีอย่างต่อเนื่องและยั่งยืนของบุคลากรในสำนักวิชาฯ จึงได้กำหนดกรอบนโยบายในการดำเนินงานดังนี้
- รณรงค์และสื่อสารให้บุคลากรในสำนักวิชาฯ มีความตระหนักรู้ถึงผลกระทบของการใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค้า การเสริมสร้างจิตสำนัก การใช้พลังงาน และทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ ปลอดภัย ประหยัด และเกิดประโยชน์สูงสุด โดยคำนึงถึงผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
- ส่งเสริมการสร้างสภาพแวดล้อมในที่ทำงานให้น่าอยู่ มีกิจกรรมในการดูแลพื้นที่ทำงานอย่างสม่ำเสมอ จัดให้มีพื้นที่สีเขียวและเอื้อต่อการทำงาน
3. กำหนดแนวทางในการบริหารจัดการขยะ การแยกประเภทและจัดการวัสดุเหลือใช้ ขยะอันตราย ขยะอิเล็กทรอนิกส์อย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อลดผลกระทบที่อาจจะเกิดขึ้นหรือสร้างมลภาวะต่อสิ่งแวดล้อม
1. ด้านโครงสร้างพื้นฐาน (Setting and Infrastructure)
2. ด้านการจัดการพลังงานและการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ (Energy and Climate Change)
3.ด้านการจัดการของเสีย(Waste)
4.ด้านการจัดการน้ำ(Water)
5.ด้านการจัดการระบบขนส่งภายใน(Transportation)
6.ด้านการให้การศึกษาวิจัยและบริการวิชาการเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม(Education and Research)
1.1 ขนาดพื้นที่ตั้งอาคารของหน่วยงาน
สำนักวิชาวิทยาศาสตร์ ตั้งอยู่ที่ อาคารวิชาการ 1 เลขที่ 222 ต.ไทยบุรี อ.ท่าศาลา จ.นครศรีธรรมราช 80160
1.2 ขนาดพื้นที่ที่ปกคลุมด้วยพืชพรรณ
1.3 จำนวนบุคลากรทั้งหมดของหน่วยงาน
สำนักวิชาวิทยาศาสตร์ มีจำนวนบุคลากรทั้งหมด 62 คน แบ่งเป็น
- บุคลากรสายวิชาการ จำนวน 49 คน
- บุคลากรสายปฏิบัติการและสนับสนุนจำนวน 13 คน
2.1 การใช้เครื่องใช้ไฟฟ้าที่ช่วยประหยัดพลังงาน
2.2 การผลิตพลังงานหมุนเวียนภายในหน่วยงาน
ไม่มี
2.3 ปริมาณการใช้ไฟฟ้า
2.4 โครงการหรือกิจกรรม การลดปล่อยก๊าซเรือนกระจก
2.5 นโยบายอนุรักษ์การใช้พลังงาน
- เปิดเครื่องปรับอากาศ เวลา 9.00 น. ปิดเวลา 16.00 น.
- ปิดไฟปิดเครื่องปรับอากาศ (โซนทำงาน) ตอนพักเที่ยง เวลา 12.00 – 13.00 น.
- ปรับเครื่องปรับอากาศที่อุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียส
- ปิดไฟในตอนเที่ยงหรือเมื่อไม่มีคนอยู่ห้อง
- ปิดหน้าจอคอมพิวเตอร์เวลาตอนเที่ยงหรือไม่ใช้งาน
3.1 นโยบายการลดใช้กระดาษและพลาสติกในหน่วยงาน
- ยืดอกพกปิ่นโต
ใช้กล่องใส่อาหารหรือใช้ตระกร้าใส่สิ่งของ ลดการใช้ถุงจากพลาสติก รณรงค์การใช้แก้วเก็บความเย็นแทนการใช้แก้วจากพลาสติก ใช้ถุงผ้าแทนการใช้ถุงจากพลาสติก
- การใช้ระบบ E-Office ในการส่งเอกสารต่าง ๆ เพื่อลดการใช้กระดาษ
- การใช้ระบบ E – Car ในการจองรถรับส่ง เพื่อลดการใช้เอกสาร
3.2 โครงการรณงค์การรีไซเคิลขยะ
การคัดแยกขยะ
3.3 การจัดการขยะมีพิษ
-ไม่มี
3.4 การจัดการขยะอินทรีย์
-ไม่มี
3.5 การบำบัดขยะอนินทรีย์
-ไม่มี
3.6 การจัดการน้ำเสีย
-ไม่มี
ข้อมูลการใช้งานน้ำ
ปีพ.ศ. | น้ำประปา (ลบ.ม.) | น้ำจากแหล่งน้ำธรรมชาติ (ลบ.ม.) |
---|---|---|
2560 | 111,386 | 0 |
2561 | 121,386 | 0 |
2562 | 169,381 | 0 |
4.1 โครงการหรือกิจกรรมการอนุรักษ์/การลดการใช้น้ำในหน่วยงาน
4.2 การดำเนินโครงการรีไซเคิลน้ำ
4.3 การใช้อุปกรณ์ประหยัดน้ำที่มีประสิทธิภาพ
4.4 นโยบายอนุรักษ์การใช้น้ำของหน่วยงาน
5.1 จำนวนเฉลี่ยรถจักรยานที่ใช้งานภายในหน่วยงานของแต่ละวัน
- จำนวนรถจักรยานที่เป็นทรัพย์สินของมหาวิทยาลัย จำนวน 2 คัน
- จำนวนรถจักรยานที่เป็นทรัพย์สินส่วนตัวของบุคลากร จำนวน 10 คัน
5.2 ความคิดริเริ่มระบบการขนส่งเกี่ยวกับ การกำจัด หรือลดยานพาหนะส่วนตัวในมหาวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ นำรถไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ ภายใต้ชื่อโครงการรถไฟฟ้า มวล. มาใช้เป็นระบบขนส่งภายในให้บริการแก่นักศึกษา-บุคลากร พร้อมเปิดให้บริการต้อนรับนักศึกษาใหม่ 14 กรกฎาคม 2561 ตั้งเป้าลดการเกิดอุบัติเหตุ ลดภาวะโลกร้อน มุ่งสู่ Smart & Green University
5.3 นโยบายการใช้ทางเท้าและการใช้รถจักรยาน
– นโยบายการใช้รถจักรยานและทางเดินเข้า


Walailak Go Green